วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ครั้งที่ ๙ การปฎิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒

ครั้งที่ ๙ การปฎิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒

http://www.filefactory.com/file/cc3843/n/128201-09_-2_pdf

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
http://www.filefactory.com/file/95839b/n/_pdf

ครั้งที่ ๘ การปฎิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑

ครั้งที่ ๘ การปฎิรูปการบริหารราชการแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑

http://www.filefactory.com/file/74e56d/n/128201-08_pdf

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
http://www.filefactory.com/file/09ddbd/n/_pdf

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์
http://www.filefactory.com/file/17cea2/n/_pdf

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
http://www.filefactory.com/file/958393/n/_pdf

ครั้งที่ ๗ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น

ครั้งที่ ๗ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น

http://www.filefactory.com/file/b61d4b/n/128201-07_pdf

ครั้งที่ ๖ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยอยุธยา (การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ)

ครั้งที่ ๖ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยอยุธยา (การปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ)

http://www.filefactory.com/file/b61d4a/n/128201-06_pdf

ครั้งที่ ๕ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยอยุธยาตอนต้น

ครั้งที่ ๕ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยอยุธยาตอนต้น

http://www.filefactory.com/file/fe4d97/n/128201-05_pdf

ครั้งที่ ๔ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยสุโขทัย

ครั้งที่ ๔ การบริหารราชการแผ่นดินสมัยสุโขทัย

http://www.filefactory.com/file/4b6464/n/128201-04_pdf

ความรู้

พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับ "ความรู้"

“...ความรู้นั้นสำคัญยิ่งใหญ่ เพราะเป็นปัจจัยให้เกิดความฉลาดสามารถ และความเจริญก้าวหน้า มนุษย์จึงใฝ่ศึกษากันอย่างไม่รู้จบสิ้น แต่เมื่อพิเคราะห์ดูแล้ว การเรียนความรู้ แม้มากมายเพียงใด บางทีก็ไม่ช่วยให้ฉลาดหรือเจริญได้เท่าไรนัก ถ้าหากเรียนไม่ถูกถ้วน ไม่รู้จริงแท้ การศึกษาหาความรู้จึงสำคัญตรงที่ว่า ต้องศึกษาเพื่อให้เกิด “ความฉลาดรู้” คือรู้แล้ว สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริงๆ โดยไม่เป็นพิษเป็นโทษ การศึกษาเพื่อความฉลาดรู้ มีข้อปฏิบัติที่น่าจะยึดถือเป็นหลักอย่างน้อยสองประการ ประการแรก เมื่อจะศึกษาสิ่งใดเรื่องใดให้รู้จริง ควรจะได้ศึกษาให้ตลอดครบถ้วนทุกแง่ทุกมุม ไม่ใช่เรียนรู้แต่เพียงบางส่วนบางตอน หรือเพ่งเล็งเฉพาะแต่เพียงบางแง่บางมุม อีกประการหนึ่ง ซึ่งจะต้องปฏิบัติประกอบพร้อมกันไปด้วยเสมอคือต้องพิจารณาศึกษาเรื่องนั้นๆ ด้วยความคิดจิตใจที่ตั้งมั่นเป็นปรกติ และเที่ยงตรง เป็นกลาง ไม่ยอมให้ความรู้เห็นและเข้าใจตามอำนาจความเหนี่ยวนำของอคติ ไม่ว่าจะเป็นอคติฝ่ายชอบหรือฝ่ายชัง มิฉะนั้นความรู้ที่เกิดขึ้นจะไม่เป็นความรู้แท้ หากแต่เป็นความรู้ที่ถูกอำพรางไว้ หรือที่คลาดเคลื่อนวิปริตไปต่างๆ จะนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์จริงๆ โดยปราศจากโทษไม่ได้...”

พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรโรฒ วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๒๔